บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ตุลาคม, 2014

การประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ

ผู้ศึกษา                  สถาบัน กศน.ภาคใต้ สังกัด                     สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ที่ปรึกษา                 ดร. ปรีชา จันทรมณี ปีที่ศึกษา                2557 ใน การประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินคุณภาพการศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โต๊ะครู ผู้ช่วยโต๊ะครู อุสตาซ  ผู้บริหารสถานศึกษาปอเนาะ ผู้สอน ผู้เรียน ครูอาสาสมัครฯประจำสถาบันศึกษาปอเนาะ ในจังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดสงขลา และจังหวัดสตูล จำนวน 877 คน  กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โต๊ะครู ผู้ช่วยโต๊ะครู อุสตาซ ผู้บริหารสถานศึกษาปอเนาะ ผู้สอน ผู้เรียน ครูอาสาสมัครฯประจำสถาบันศึกษาปอเนาะ ในจังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดสงขลา และจังหวัดสตูล จำนวน 783 คน  ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางประมาณขนาดตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน  หลังจากนั้นจึงสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่ายโดยการจับสลาก ตามสัดส่วนของประชากร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะ

ศึกษาสภาพปัญหาการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคภาษาอังกฤษ (English Program) ในภาคใต้

ผู้ศึกษา                  สถาบัน กศน.ภาคใต้ สังกัด                     สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ที่ปรึกษา                 ดร. ปรีชา จันทรมณี ปีที่ศึกษา                2557 ในการศึกษา สภาพปัญหาการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาค ภาษาอังกฤษ ( English Program )   ในภาคใต้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคภาษาอังกฤษ ( English Program ) ในภาคใต้ ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอนและนักศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคภาษาอังกฤษ ( English Program) ปีการศึกษา 255 7ในภาคใต้ จำนวน 155 คน  กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ ครู ผู้สอน และนักศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรภาคภาษาอังกฤษ ( English Program) ปีการศึกษา 255 7 ในภาคใต้ จำนวน 110 คน  ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางประมาณขนาดตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน หลังจากนั้นจึงสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่

ปัจจัยที่ส่งผลต่อนิสัยรักการอ่านของนักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาในภาคใต้

ผู้ศึกษา                  สถาบัน กศน.ภาคใต้ สังกัด                     สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ที่ปรึกษา                 ดร.ปรีดา  เบ็ญคาร อาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา     ดร. ปรีชา จันทรมณี ผู้อำนวยการสถาบัน กศน. ภาคตะวันออก ปีที่ศึกษา                2556 - 2557                                 ในการศึกษา ปัจจัยที่ส่งผลต่อนิสัยรักการอ่านของนักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาในภาคใต้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อนิสัยรักการอ่านของนักศึกษา กศน . ระดับมัธยมศึกษา ในภาคใต้  ประชากร คือ นักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษา ในภาคใต้ ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 1/2556  จำนวน 123,647  คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาในภาคใต้ ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 1/2556  จำนวน 400 คน คณะผู้วิจัยกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane   หลังจากนั้นจึงสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่ายโดยการจับสลาก ตามสัดส่วนของประชากร เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อม