บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ตุลาคม, 2015

โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

ผู้ประเมิน                  สถาบัน กศน.ภาคใต้ ปีที่ประเมิน                 2558 การประเมินโครงการโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ประเมินผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดของโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน 2) ประเมินการดำเนินโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ในด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิตโดยการผสมผสานรูปแบบการประเมินตามวัตถุประสงค์ของไทเลอร์ (Tyler’s Model of Evaluation) และรูปแบบการประเมินเชิงระบบ ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบโครงการ และประชาชน รวมจำนวน 3,874 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน  90 คน ประชาชน จำนวน  1,595   คน รวมจำนวน 1, 685   คน ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางประมาณขนาดตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน แล้วทำการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชนคนรักษ์ถิ่น

ผู้ประเมิน                  สถาบัน กศน.ภาคใต้ ปีที่ประเมิน                 2558 การประเมินโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชนคนรักษ์ถิ่น มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ประเมินผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชนคนรักษ์ถิ่น 2) ประเมินการดำเนินโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชนคนรักษ์ถิ่นด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการและผลผลิตโดยการผสมผสานรูปแบบการประเมินตามวัตถุประสงค์ของไทเลอร์ (Tyler’s Model of Evaluation) และรูปแบบการประเมินเชิงระบบ Context-Input-Process-Product-Impact : CIPPI Model  ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู กศน. เยาวชน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมจำนวน 2 , 420 คน  กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู กศน. จำนวน 149 คน เยาวชน จำนวน 1,404 คน รวมจำนวน 1,553 คน  ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางประมาณขนาดตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน แล้วทำการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์

รายงานการประเมินโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาพาสันติสุข

ผู้ประเมิน                  สถาบัน กศน.ภาคใต้ ปีที่ประเมิน                 2558 การประเมินโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาพาสันติสุข มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1)ประเมินผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาพาสันติสุข  2)ประเมินการดำเนินโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาพาสันติสุข ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการและด้านผลผลิตโดยการผสมผสานรูปแบบการประเมินตามวัตถุประสงค์ของไทเลอร์ (Tyler’s Model of Evaluation) และรูปแบบการประเมินเชิงระบบ Context-Input-Process-Product-Impact : CIPPI Model  ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู กศน. ผู้เรียน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมจำนวน 17,573 คน  กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู กศน. จำนวน 366 คน ผู้เรียนจำนวน 1,164 คน รวมจำนวน 1,530 คน  ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางประมาณขนาดตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน แล้วทำการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 2 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า                

รายงานการประเมินโครงการกีฬาสายสัมพันธ์ เครือข่าย เยาวชนนอกโรงเรียนเสริมสร้างสันติสุข

ผู้ประเมิน                  สถาบัน กศน.ภาคใต้ ปีที่ประเมิน                 2558 การประเมินโครงการกีฬาสายสัมพันธ์ เครือข่าย เยาวชนนอกโรงเรียนเสริมสร้างสันติสุข มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ประเมินผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการกีฬาสายสัมพันธ์ เครือข่าย เยาวชนนอกโรงเรียนเสริมสร้างสันติสุข  2) ประเมินการดำเนินโครงการกีฬาสายสัมพันธ์ เครือข่าย เยาวชนนอกโรงเรียนเสริมสร้างสันติสุขในด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการและผลผลิตโดยการผสมผสานรูปแบบการประเมินตามวัตถุประสงค์ของไทเลอร์ (Tyler’s Model of Evaluation) และรูปแบบการประเมินเชิงระบบ Context-Input-Process-Product-Impact : CIPPI Model  กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้รับผิดชอบโครงการ นักกีฬา นักศึกษา ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดสตูล และ จังหวัดสงขลา (เฉพาะอำเภอเทพา อำเภอสะบ้าย้อย อำเภอจะนะ อำเภอนาทวี)  รวมจำนวน 1 ,3 09 คน  ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางประมาณขนาดตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 3 ฉบับ สถิติที่ใช้ใน

รายงานการประเมินโครงการเปิดโลกการเรียนรู้ให้ผู้สูงอายุในสังคมพหุวัฒนธรรม

ผู้ประเมิน                  สถาบัน กศน.ภาคใต้ ปีที่ประเมิน                 2558 การประเมินโครงการเปิดโลกการเรียนรู้ให้ผู้สูงอายุในสังคมพหุวัฒนธรรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ประเมินผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการเปิดโลกการเรียนรู้ให้ผู้สูงอายุในสังคมพหุวัฒนธรรม  2) ประเมินการดำเนินโครงการเปิดโลกการเรียนรู้ให้ผู้สูงอายุในสังคมพหุวัฒนธรรมด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการและผลผลิตโดยการผสมผสานรูปแบบการประเมินตามวัตถุประสงค์ของไทเลอร์ (Tyler’s Model of Evaluation) และรูปแบบการประเมินเชิงระบบ Context-Input-Process-Product-Impact : CIPPI Model  ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาครูผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้สูงอายุ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมจำนวน 6,850 คน  กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาครูผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้สูงอายุ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมจำนวน 550 คน  ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางประมาณขนาดตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน แล้วทำการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 2 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่

การศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของชาวไทยมอแกน

ผู้วิจัย                  สถาบัน กศน.ภาคใต้ ปีที่วิจัย                2558 การศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของชาวไทยมอแกน มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื่อ  1) ศึกษาบริบทชุมชนและวิถีชีวิตของชาวไทยมอแกน 2) ศึกษาระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวไทยมอแกน 3) ศึกษาระดับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของชาวไทยมอแกน 4) เปรียบเทียบระดับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของชาวไทยมอแกน และ 5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในปัจจุบันของชาวไทยมอแกน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ตัวแทนครอบครัวของชาวไทยมอแกน จำนวน 59 ครัวเรือน และมีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่  เจ้าหน้าที่หน่วยงานราชการที่มีหน้าที่ดูแลพื้นที่ที่ชาวมอแกนตั้งถิ่นฐานอยู่ ได้แก่ เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่รับผิดชอบในหมู่บ้าน  ผู้บริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคุระบุรี  และบุคลากรศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคุระบุรี เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉล